บล็อก

รางวัลซีไรต์

ความนิยม 1เข้าชม/อ่าน 1066 ครั้ง2012-1-14 16:43 |เลือกหมวดหมู่:ความรู้

http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/d/d4/Button_hide.png

 

Close

รางวัลซีไรต์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา



สัญลักษณ์ของรางวัลซีไรต์

รางวัลซีไรต์ (อังกฤษ: S.E.A. Write) มีชื่อเต็มว่า รางวัลวรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน (อังกฤษ: Southeast Asian Writers Award) เริ่มก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2522 เป็นรางวัลประจำปีที่มอบให้แก่กวีและนักเขียนใน 10 ประเทศรัฐสมาชิกแห่งสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน

โดยงานเขียนที่ได้รับรางวัลเป็นผลงานที่ได้รับการยกย่องอย่างกว้างขวาง และมีงานเขียนหลากหลายรูปแบบที่ได้รับรางวัล อย่างเช่น กวีนิพนธ์ เรื่องสั้น นวนิยาย ละครเวที คติชนวิทยา รวมไปถึงงานเขียนด้านสารคดีและงานเขียนทางด้านศาสนา พิธีจะถูกจัดขึ้นในกรุงเทพมหานคร โดยมีพระบรมวงศานุวงศ์ทรงเป็นประธานในพิธี

นับตั้งแต่มีการก่อตั้งรางวัลซีไรต์ขึ้น สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ยังคงประกอบด้วยรัฐสมาชิกเพียง 5 ประเทศ ได้แก่ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย ต่อมา ในปี พ.ศ. 2527 บรูไนได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกของสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เวียดนามเข้าร่วมในปี พ.ศ. 2538 ลาวและพม่าเข้าร่วมในปี พ.ศ. 2540 และกัมพูชาเข้าร่วมหลังสุดในปี พ.ศ. 2542

รายนามนักประพันธ์ที่ได้รับรางวัลซีไรต์

ปี

บรูไน

กัมพูชา

อินโดนีเซีย

ลาว

มาเลเซีย

พม่า

ฟิลิปปินส์

สิงคโปร์

ไทย

เวียดนาม

พ.ศ. 2522



สุทาดจี คาลซูม บาซรี


เอ ซามัด ซาอิด


โจลิโค คัวตรา

เอ็ดวิน นาตาซัน ธัมบู

คำพูน บุญทวี


พ.ศ. 2523



ปูตู วิจายา


ยาฮารุดดิน ไซนาล


นิค ฮัวควิน

มาซูรี บิน ซาลิกัน

เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์


พ.ศ. 2524



โกว์นาวา โมฮาหมัด


อับดุลลาห์ ฮัซเซน


เกรโกริโอ บริลแลนเตส

วอง เม็ง วุน

อัศศิริ ธรรมโชติ


พ.ศ. 2525



มาริแอน คาทอพโพ


อุสแมน อาวัง


เอเดรียน อี คริสโตบอล

เอ็ม บาลากริชนัน

ชาติ กอบจิตติ


พ.ศ. 2526



วาย. บี. มังกุนวิชายา


อาคิบา อามิน


เอดิแบร์โต เทียมโป

อาร์เธอร์ ยัป

ประสาทพร ภูสศิลป์ธร


พ.ศ. 2527



บูดิ คาร์มะ


ลาติฟ โมฮิดิน


เวอร์จิเนีย มอริโน

ว่อง ยุน หว่า

วาณิช จรุงกิจอนันต์


พ.ศ. 2528



อับดุล ฮาดิ้


รินา วาตี


คาเรโด เดเมทิลโล

สเมล บิน ฮาจิ

กฤษณา อโศกสิน


พ.ศ. 2529

มุสลิม บุรมัต


ซาปาร์ดี ดโจโก ดาโมโน


เคมาลา


โฮเซ ซิซัน

ปารานัน

อังคาร กัลยาณพงศ์


พ.ศ. 2530

ทัจญี ยะห์ยา บิน ทัจญี อิบราฮิม


ดร. อุมาร์ คัยยาม


นูร์ดิน ฮัสซัน


เบียงเวนิโด เอ็น ซานโตส

ดร. ลี ซู เพ็ง

ไพฑูรย์ ธัญญา


พ.ศ. 2531

ฮาจิ ลีมัน บิน อาหมัด


ดานาร์โต


อาซิซิ ฮาจิ อับดุลลาห์


เวอร์จิลิโอ เอศ อัลมาริโอ

ลิวไป่อัน หรือ จัวบุนเทียน

นิคม รายยวา


พ.ศ. 2532

ฮาจิ บิน ฮาจิ โมฮัมหมัด ซาอิด


เกอร์สัน ปอยส์


สิติ ไซมอน อิสไมล์


ลีนา เอสปินา มัวร์

สุรัตมาน มาร์กาซาน

จิระนันท์ พิตรปรีชา


พ.ศ. 2533

โมหะมัด ซาเลห์ บิน อับดุล ลาติฟ


อาริฟิน ซี โนเออร์


ส. โอธมาน เกลันตัน


คาร์แมน แกร์โร นักปิล

รามา กันนาพิรัน

อัญชลี วิวัธนชัย


พ.ศ. 2534

ฮาจิ มูฮัมหมัด ซาอีน


สุบาจิโอ ซัสโตรวาร์โดโย


จิฮาติ อาบาดิ


อิซากานิ อาร์ ครูซ

โกปาล บาราธัม

มาลา คำจันทร์


พ.ศ. 2535

Awang Haji Abdul Rahman


อาลี อัคบาร์ เนวิส


อิสเมล อับบาส


อัลเฟรด เอ ยูซอน

เฉิง เหวง ยัด

ศักดิ์ศิริ มีสมสืบ


พ.ศ. 2536

เปนกิรัน ฮาจี โมฮัมหมัด ยูซุพ


รามาดัน เค เอช


กามารัซซามัน อับดุล กาดีร์


ลินดา ตี-แคสเปอร์

มูฮัมหมัด อารีฟ อาห์หมัด

วินัย บุญช่วย


พ.ศ. 2537

ยัง มุเลีย อาวัง ฮัจญี มอรซิดี บิน ฮัจญี มัรสัล


เตาฟิก อิสมาอิล


เอ วาฮับ อลี


บูนาเวนจูรา เอส เมดินา จูเนียร์

นา โควินทสามี

ชาติ กอบจิตติ


พ.ศ. 2538

เพนกิรัน ฮาจิ อาจิ มูฮัมมัด อับดุล อาซิส


อับมาด โทฮาริ


ซูไฮมิ ฮาจิ มูฮัมมัด


เตโอ ที อันโตนิโย

หลิว ฟู ฉั่น (ดาน ยิง)

ไพวรินทร์ ขาวงาม


พ.ศ. 2539

เพนกิรัน ฮาจิ สับตุ


เรนดรา


ซาฮาราห์ นาวาวิ


ไมค์ แอล พิกอร์เนีย

โฮ มินฟอง

กนกพงศ์ สงสมพันธุ์

โต ฮู

พ.ศ. 2540

อาหวัง โมฮัมหมัด บิน หัจญี ติมบัง


เซโน กูมิรา อยีดารมา


มูฮัมหมัด หัจญี ซัลเลฮ์


อเลฮันโดร โรเซส

อีลันโกวัน

วินทร์ เลียววาริณ


พ.ศ. 2541

บาดารุดดิน เอช โอ


เอ็น ริอานติอาร์โน

ดร. ทองคำ อ่อนมณีสอน

รศ. ดร. ออตมาน ปูเต

ซินพิวขจุน อองเตง

มาร์นี แอล กิลาเตส

อับดุล กานิ ฮามิด

แรคำ ประโดยคำ

มา วัน คัง

พ.ศ. 2542

นอร์เซีย เอ็ม เอส

พิค ตุม คราเวล

ดร. คุนโทวิโจโย เอ็มเอ

จันตี เดือนสะหวัน

คาดิจาห์ ฮาซิม

อู่ เคียว อัง

โอพีเลีย ดีมาลานตา

ดร. แคทเธอรีน ลิม

วินทร์ เลียววาริณ

ฮิว ถิง

พ.ศ. 2543

เปฮิน ดาโต๊ะ อับดุล อะซีส บิน จูเนด

กุง บุน เชือน

วิสรัน ฮาดี

สุวันทอน บุปผานุวง

ลิม สวี ติน

ดอว์ ยิน ยิน

อันโตนิโอ เอ็นริเกซ

เทโอ ฮีลา

วิมล ไทรนิ่มนวล

เหงียน ไค

พ.ศ. 2544

อาหวัง ฮัจจี อิบบราฮิม บิน ฮัจจี มูฮาหมัด

เมา อายุทธ

ไซนี เค เอ็ม

โสมสี เดชาคำพู

ซากาเรีย อาร์ริฟิน

อู ทิน จี

เฟลิซ พรูเดนเต ซันตา มาเรีย

โมฮัมเมด อิกบัล

โชคชัย บัณฑิต

เหงียน ดุ๊ก เมา

พ.ศ. 2545

รอสลี อบีดิน ยาห์ยา

เซง ซัม อัน

ดาร์มันโต จัตมัน

วิเศษ แสวงศึกษา

ดร. อันวาร์ บิน ริดห์วัน


โรแบร์โต ที อโนนูเอโว

โมฮัมเหม็ด ลาทิฟ บิน โมฮัมหมัด

ปราบดา หยุ่น

เหงียน เคียน

พ.ศ. 2546

รศ.ดร. หะจี ฮาชิม บิน หะจี อับดุล ฮามิด

คิม ปินุน

เอน เอช ดินี

เทียบ วงปะกาย

ดร. ซาคาเรีย อาลี


ดร. โดมินโก จี. แลนดิโช

ฟิลิป ชัยรัตนัม

เดือนวาด พิมวนา

บาง เวียด

พ.ศ. 2547

หะจี จาวาวี บิน อะหมัด

เช ชัป

กุส ทีเอฟ ซาไก

ทองใบ โพธิสาน

ซูรินาห์ ฮัซซัน


ดร. เซซาร์ รูอิซ อากีโน

ดร. ซูน ไอ ลิง

เรวัตร์ พันธุ์พิพัฒน์

โด ชู

พ.ศ. 2548

ราฮิมี เอ. บี.

เมียช ปอนน์

อาเซป แซมแซม นูร์

บุญเสิน แสงมณี

อับดุล คะฟาร์ อิบราฮิม


มาลู ฮาคอบ

พี. กฤษณัน

บินหลา สันกาลาคีรี

ฟู ตรัม (อินระสะระ)

พ.ศ. 2549

สะวัล ราจาบ

วันนาริรัก ปาล

สิเตอร์ สิตูโมรัง

ดวงเดือน บุนยะวง

จอง เชียน ไล


วิกเตอร์ เอมมานูเอล คาร์เมโล ดี. นาเดรา จูเนียร์

อีซา กามารี

งามพรรณ เวชชาชีวะ

เล ฟาน เถา

พ.ศ. 2550









มนตรี ศรียงค์


พ.ศ. 2551









วัชระ สัจจะสารสิน


พ.ศ. 2552









อุทิศ เหมะมูล


พ.ศ. 2553









ซะการีย์ยา อมตยา


[แก้] ดูเพิ่ม

[แก้] แหล่งข้อมูลอื่น

[แสดง]

    

รายนามผู้ได้รับรางวัลวรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียนชาวไทยเรียงตามลำดับตัวอักษร



กนกพงศ์ สงสมพันธุ์กฤษณา อโศกสินคมทวน คันธนูคำพูน บุญทวีงามพรรณ เวชชาชีวะจิระนันท์ พิตรปรีชาชาติ กอบจิตติโชคชัย บัณฑิต'ซะการีย์ยา อมตยาเดือนวาด พิมวนานิคม รายยวาเนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์บินหลา สันกาลาคีรีปราบดา หยุ่นไพฑูรย์ ธัญญาไพวรินทร์ ขาวงามมนตรี ศรียงค์มาลา คำจันทร์เรวัตร์ พันธุ์พิพัฒน์แรคำ ประโดยคำวัชระ สัจจะสารสินวาณิช จรุงกิจอนันต์วินทร์ เลียววาริณวิมล ไทรนิ่มนวลศักดิ์ศิริ มีสมสืบศิลา โคมฉายอังคาร กัลยาณพงศ์อัญชลี วิวัธนชัยอัศศิริ ธรรมโชติอุทิศ เหมะมูล


 

[แสดง]

    

รายชื่อวรรณกรรมสัญชาติไทยที่ได้รับรางวัลวรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียนเรียงตามปี




ลูกอีสาน (พ.ศ. 2522) · เพียงความเคลื่อนไหว (พ.ศ. 2523) · ขุนทอง เจ้าจะกลับเมื่อฟ้าสาง (พ.ศ. 2524) · คำพิพากษา (พ.ศ. 2525) · นาฏกรรมบนลานกว้าง (พ.ศ. 2526) · ซอยเดียวกัน (พ.ศ. 2527) ·
ปูนปิดทอง (พ.ศ. 2528) · ปณิธานกวี (พ.ศ. 2529) · ก่อกองทราย (พ.ศ. 2530) · ตลิ่งสูง ซุงหนัก (พ.ศ. 2531) · ใบไม้ที่หายไป : กวีนิพนธ์แห่งชีวิต (พ.ศ. 2532) · อัญมณีแห่งชีวิต (พ.ศ. 2533) ·
เจ้าจันท์ผมหอม นิราศพระธาตุอินทร์แขวน (พ.ศ. 2534) · มือนั้นสีขาว (พ.ศ. 2535) · ครอบครัวกลางถนน (พ.ศ. 2536) · เวลา (พ.ศ. 2537) · ม้าก้านกล้วย (พ.ศ. 2538) · แผ่นดินอื่น (พ.ศ. 2539) ·
ประชาธิปไตยบนเส้นขนาน (พ.ศ. 2540) · ในเวลา (พ.ศ. 2541) · สิ่งมีชีวิตที่เรียกว่าคน (พ.ศ. 2542) · อมตะ (พ.ศ. 2543) · บ้านเก่า (พ.ศ. 2544) · ความน่าจะเป็น (พ.ศ. 2545) · ช่างสำราญ (พ.ศ. 2546) ·
แม่น้ำรำลึก (พ.ศ. 2547) · เจ้าหงิญ (พ.ศ. 2548) · ความสุขของกะทิ (พ.ศ. 2549) · โลกในดวงตาข้าพเจ้า (พ.ศ. 2550) · เราหลงลืมอะไรบางอย่าง (พ.ศ. 2551) · ลับแล, แก่งคอย (พ.ศ. 2552) · ไม่มีหญิงสาวในบทกวี (พ.ศ. 2553)


SEAwritelogo.png


 


บทความนี้เป็นบทความเกี่ยวกับ วรรณกรรม วรรณคดี นวนิยายหรือหนังสือ ที่ยังไม่สมบูรณ์ คุณสามารถช่วยแก้ไขเพิ่มเติมได้ ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:โลกวรรณศิลป์

ดึงข้อมูลจาก "http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%A5%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B9%84%E0%B8%A3%E0%B8%95%E0%B9%8C".

หมวดหมู่: รางวัลซีไรต์ | บทความเกี่ยวกับ วรรณกรรม ที่ยังไม่สมบูรณ์

เครื่องมือส่วนตัว

เนมสเปซ

สิ่งที่แตกต่าง

ดู

การกระทำ

สืบค้น

Top of Form

สืบค้น

Bottom of Form

ป้ายบอกทาง

มีส่วนร่วม

พิมพ์/ส่งออก

เครื่องมือ

ภาษาอื่น

日本語 ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

เขินอ่ะ

อะไรก็ไม่รู้

เห็นด้วยๆ
1

ซึ้งจังเลย

ขำฮาตรึม

มีผู้แสดงความรู้สึก (1 คน)

ความคิดเห็น (0 ความคิดเห็น)

facelist doodle วาดภาพ

คุณต้องเข้าสู่ระบบก่อนจึงจะสามารถแสดงความคิดเห็นได้ เข้าสู่ระบบ | สมัครสมาชิก

souliya ID 3769

  • อันดับ
    Level.8
  • เครดิต
    3917
  • เครดิต
    3917
  • เงินยูโร
    9097405
  • จิตพิสัย
    70517
  • ทอง
    22717
TOP